บทความที่น่าสนใจ
Industrial Networking คืออะไร และแตกต่างกับที่ใช้งานทั่วไปอย่างไร ?
ในปัจจุบันโลกได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงและเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยีอย่าง มากมาย ถ้าพูดถึงในแง่ของผู้ผลิตในภาคอุตสาหกรรม จากเดิมที่เคยใช้คนและสัตว์ในการทำงานเป็นหลัก ก็มีการเปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรไอน้ำและถ่านหิน (Industry 1.0) จากนั้นจึงเปลี่ยนมาเป็นการใช้เครื่องจักรไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ และน้ำมัน และมีการนำสายพานเข้ามาใช้ในการผลิต
คลิกเพื่ออ่านต่อทำความรู้จักกับ 1st Gen ของ CC-Link ได้แก่ CC-Link, CC-Link LT และ CC-Link Safety
ในตอนที่แล้วได้พูดถึงบทบาทของเครือข่ายในระบบอัตโนมัติและความแตกต่างของ Industrial Ethernet กับ Ethernet แบบที่ใช้กันทั่วไปไปแล้ว ในตอนนี้จะเป็นการแนะนำให้รู้จักกับเครือข่ายที่ใช้ในโรงงานที่ได้รับความนิยมใช้กันมาอย่างยาวนาน และมีการพัฒนาอยู่ตลอด นั่นก็คือ CC-Link หลายท่านคงจะเคยได้ยินชื่อ CC-Link กันมาบ้าง บางท่านอาจจะเคยมีประสบการณ์ในการในการใช้งาน CC-Link บ้างแล้ว แต่หากท่านไม่เคยได้ยินหรือไม่เคยมีประสบการณ์ในการใช้งาน CC-Link ก็ไม่เป็นไร เนื้อหาในบทความนี้จะอธิบายให้ทุกท่านเข้าใจเกี่ยวกับ CC-Link มากขึ้นอย่างแน่นอน
คลิกเพื่ออ่านต่อIndustry 4.0 (Smart Factory) คืออะไร? แตกต่างจาก Industry 3.0 อย่างไร?
องค์ประกอบที่สำคัญของ Industry 4.0 นั้นประกอบไปด้วยเทคโนโลยีต่างๆ เช่น Cyber-physical systems คือ อุปกรณ์ที่ทำงานโดยอัลกอริทึมของคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐาน, Industrial Internet of Things หรือ IIoT คือ การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องจักร หรือเซ็นเซอร์ บนเครือข่าย ที่ฝังความสามารถในการตรวจจับ การสแกน และการตรวจสอบด้วยคอมพิวเตอร์ไว้บนอุปกรณ์, Cloud computing คือ การประมวลผล จัดเก็บข้อมูล และการใช้บริการอื่นๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตCognitive computing คือ แพลตฟอร์มเทคโนโลยีที่ใช้ปัญญาประดิษฐ์
คลิกเพื่ออ่านต่อIndustrial Networking มีบทบาทอย่างไรในการเป็น Smart Factory ในยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่
หลายท่านอาจยังไม่เข้าใจว่าระบบเครือข่ายอุตสาหกรรม (Industrial Networking) อย่าง CC-Link และ CC-Link IE นั้นมี บทบาทสำคัญอย่างไรในการก้าวเข้าสู่ยุค Smart Factory หรือ Industry 4.0 บทความนี้จะทำให้ท่านได้เข้าใจบทบาทและความสำคัญ ของระบบเครือข่ายในภาคอุตสาหกรรมมากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะปรับตัวเข้าสู่ยุค Digital Disruption
คลิกเพื่ออ่านต่อPreventive Maintenance VS. Predictive Maintenance
โดยปกติแล้วการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะเป็นการทำงานตลอดเวลา เมื่ออุปกรณ์และเครื่องจักรถูกใช้งานหนักและทำงานต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทำให้เกิดการการเสื่อมสภาพของอุปกรณ์และเครื่องจักร หากอุปกรณ์และเครื่องจักรที่ถูกใช้งานเหล่านั้นเสื่อมสภาพลงจนการทำงานเริ่มมีความ ผิดปกติแต่ไม่ได้รับการบำรุงรักษาอย่างทันท่วงทีก็จะเกิดความเสียหายขึ้นจนบางครั้งอาจทำให้โรงงานต้องหยุดกระบวนการผลิตโดยไม่ได้วางแผนมาก่อน ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทุกโรงงานไม่อยากให้เกิดขึ้น ดังนั้นการบำรุงรักษาอุปกรณ์และเครื่องจักรจึงเป็นสิ่งสำคัญ
คลิกเพื่ออ่านต่อการประยุกต์ใช้งานระบบ
กรณีศึกษา
- เว็บไซต์สมาชิก
CC-Link Partner
Association (CLPA)